วันอังคารที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2555

Classification Writing

        Animals are divided into 2 types : vertebrates and invertebrates. Vertebrates can be subdivided into Reptiles, Fish, Amphibians, Birds and Mammals. Invertebrates can be subdivided into Protozoa, Flatworms, Annelid Worms, Echinoderms, Coelenterates and Molluscs . And arthropods can be subdivided Arachnids, Crustaceans, Insects and Myriapods.
     Kingdom classification of life can be classified into 5 types  : Kingdom of Protists, Monerans, Fungi, Plants and Animals. The frits one may be subdivided into protozoans and algae. Bacteria is an example of Kingdom of Monerans. Kingdom of Fungi are such as mushrooms, yeast and mold. Example of Kingdom of Plants are broad-leaved tree, conifer tree, fern and moss. Kingdom of Animals are such as insect, squid, horse, earthworm and spongs.


ขอขอบคุณ

วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Explanation

Explanation
 (การอธิบายขยายความ)

             การเขียนอธิบายข้อความที่เรามีอยู่แล้วเพื่อขยายความให้มีความเข้าใจมากยิ่งขึ้นซึ่งการการอธิบายความนี้จะแสดงถึงความสัมพันธ์ของบางส่วนและทั้งหมด เราสามารถใช้อธิบายรูปภาพหรือประโยคข้อความซึ่งจะมีประโยคที่เป็นการเขียนแบบอธิบายข้อความ คือ
This is so because
ที่เป็นอย่างนี้เพราะ
The cause of this is that
สาเหตุสำหรับสิ่งนี้คือ
One of the reason is
เหตุผลอีกอย่างคือ
It means that
หมายความเช่นนั้น
The fact is that
ความจริงของสิ่งนี้คือ
The reason for this is that
เหตุผลสำหรับสิ่งนี้คือ

Sentence combining

Sentence combining (การเชื่อมประโยค)
การเชื่อมประโยคช่วยให้ประโยคกระชับ กะทัดรัด และอ่านง่ายขึ้น มีวิธีการต่าง ๆ ดังนี้
1.  เชื่อมประโยคเป็น compound sentence
·      ใช้เครื่องหมาย semicolon (;) เชื่อม independent clause
ตัวอย่าง Three of the participants were male and seven were femaletheir age ranged between 21 and 24.
·      ใช้ coordinating conjunction   and,   but,   or
ตัวอย่าง   The study employed a range of data gathering instruments, but the main source of data came from self-assessment questionnaires.
·     ใช้ correlative conjunction  not only … but alsoeither … orneither … nor
ตัวอย่าง   The distinction is important not only in terms of measuring and understanding how these variables affect WTC but also in terms of pedagogical intervention.

2. เชื่อมประโยคเป็น complex sentence
              ใช้ adverbial clause แสดงความสัมพันธ์ของประโยค เช่นแสดงความแย้งใช้ adverbial clause ที่ขึ้นต้นด้วย although  แสดงเหตุผล ใช้ since  because แสดงเวลา ใช้ when
ตัวอย่าง   Although the study led to a proposed preliminary model of situational WTC in L2, the model is static.

3.  ใช้   appositives  ขยายความหรือเพื่อเชื่อมความคิด
ตัวอย่าง
        Smit,who was a native speaker of English, gave an interview on the experience of theaching Thai students.

4.  ใช้  participial phrase  เชื่อมความคิด
       Redressing the balance, others have attempted to describe the specificities of Chinese learning from a more sympathetic perspective.

5.  การใช้ participial phrase ต้องระวัง  Dangling participle
กล่าวคือ ประธานไม่ได้เป็นผู้กระทำกริยาใน participial phrase/  นั้น
        Wrong:   Coping with daily stress, the model in this research needs support.
         Improved: Coping with daily stress, parents of children with autism need support.
ที่ถูกต้องคือ parents เป็นผู้ cope with daily stress  ไม่ใช่ โมเดลในการวิจัย
ขอขอบคุณ
แนะนำเว็ปไซต์ที่น่าสนใจเกี่ยวกับเรื่องนี้
http://grammar.about.com/od/tests/a/introsc.htm

Sentence pattern 1-5

Sentence Pattern 1


    -He sleeps on(complement) the (modifier) bed in(complement) the (modifier) bedroom. 
    -My sister sit on (complement) the(modifire) chair in(complement) the(modifier)libraly 



Sentence Pattern 2 

    -We hit a dog in(complement) the(modifire) garden.
    -She studys Thai with(complement) her friend in(complement) the(modifire)class.


Sentence Pattern 3 

    -Dana is actress in(complement)  the(modifier) movie.
    -Badin was a famer in(complement) the(modifier) countryside.

 

Sentence Pattern 4 

    -The lake is tranquil in(complement) the(modifier) midst of nature.
    -The traffic is terrible at(complement) 7 a.m in(complement) this(modifier)morning. 


Sentence Pattern 5 

    -   He writes a letter  to his friend  in(complement) the(modifier) provinces.
 -They gave the(modifier) boy a(modifier) prize in(complement) yesterd
ay.

Grammar for Writing

แบบ A

Outdoor  Exercise
            Mark lives(lived) in the city, but he enjoys(enjoyed) being outdoors. When he can, he spends his time outside. He doesn't take(took) a  subway to work. He rides(rode) his bicycle. He doesn't eat(ate) lunch in a restaurant. He makes(made) his lunch himself and eats(ate) it in the park.   
            Museums don’t interest(interested) him and concerts bore him. He prefers(prefered) to be outdoors and he chooses(ch00sed) to entertain himself. Every morning he  runs(ran) and plays(played) tennis in the park and almost every weekend he  goes(went) hiking in the country.  
           Bad weather doesn't stop(stoped) him. He even gets(got) out in the rain. Mark is(was) a healthy person. His outdoor exercise makes(made) him so.

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555



dictionary page




Headword : คำหลักคำหัวบทแทรกหรือบางครั้งคำพูดติดปากคือคำที่อยู่ภายใต้ที่ตั้งของที่เกี่ยวข้อง

Compound wordคำประสมจะทำเมื่อทั้งสองคำจะเข้าร่วมในรูปแบบคำใหม่

     World class  : เป็นการบ่งบอกถึงลักษณะ หน้าที่ ของคำศัพท์นั่นว่าเป็นอะไร  เช่น  noun , verb , adj.

     Example usingหัวข้อบทเรียน : แนะนำตัวอย่าง (โดยใช้"ตัวอย่างเช่น"และวลีเช่น"ตัวอย่างเช่น")

     Entry : เป็นข้อมูล ขอบเขต ของความหมายของคำศัพท์นั้นๆ

     Phonetic type : เกี่ยวกับเสียงพูด เกี่ยวกับการออกเสียง ซึ่งมีการออกเสียงตรงกัน

     Definition / meaning : คำจำกัดความ คำนิยาม การกำหนด ความหมายมากกว่า  1  ความหมายก็ได้
 
 
ขอขอบคุณ
http://kookroot.blogspot.com

วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555

Prefix and Suffix



การใช้ Prefix and Suffix


Prefix             Prefix แปลว่า “อุปสรรค”หมายถึงคำที่ใช้เติมเข้าข้างหน้าคำอื่นแล้วทำให้คำคำนั้นมีความหมายผิดไปจากเดิม เราเรียนคำเช่นนี้ว่า “Prefix” = อุปสรรค ในภาษาอังกฤษอุปสรรคที่ใช้กันมาก และมักพบเห็นบ่อย ๆ มีอยู่ 10 ตัว คือ
            1. –Un (ไม่) ใช้สำหรับเติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) หรือ คำกริยาวิเศษณ์ (Adverb) เมื่อเติมแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม
เช่น suitable เหมาะสม unsuitable ไม่เหมาะสม countable นับได้uncountable นับไม่ได้

            2. –Im (ไม่) ใช้สำหรับเติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) หรือ คำกริยาวิเศษณ์ (Adverb) เมื่อเติมแล้ว ทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม
เช่น pure บริสุทธิ์ impure ไม่บริสุทธิ์ polite สุภาพ impolite ไม่สุภาพ

            3. –In (ไม่) ใช้สำหรับเติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) เท่านั้น เมื่อเติมแล้วทำให้คำนั้นมีความหมาย
เช่น direct ตรง indirect ไม่ตรงexpensive แพง inexpensive ไม่แพง

            4. –Re (อีก) ใช้สำหรับเติมหน้าคำกริยา (verb) หรือคำนามที่มาจากกริยาเท่านั้น  เมื่อเติมแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายว่า “ทำอีก”
เช่น write เขียน rewrite เขียนใหม่ speak พูด respeak พูดอีก

            5. –Dis (ไม่) ใช้สำหรับเติมหน้ากริยา (verb) หรือเติมหน้าคุณศัพท์ (Adjective) และเมื่อเติมแล้ว ทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม
like ชอบ dislike ไม่ชอบ agree เห็นด้วย disagree ไม่เห็นด้วย

            6. –Mis (ผิด) ใช้สำหรับนำหน้าหรือเติมหน้าคำกริยา (verb) เท่านั้น เมื่อเติมแล้วทำให้กริยาตัวนั้น มีความหมายว่า “กระทำผิด”
เช่น write เขียน miswrite เขียนผิด  spell สะกดตัว misspell สะกดตัวผิด

            7. –Pre (ก่อน) ใช้สำหรับเติมหน้าคำนาม (Noun) หรือกริยา (verb) เมื่อเติมแล้วทำให้นามนั้นมีความหมายว่า “ก่อน , หรือทำก่อน”
เช่น history ประวัติศาสตร์ prehistory ก่อนประวัติศาสตร์  university มหาวิทยาลัย preuniversity ก่อนมหาวิทยาลัย

            8. –Tri (สาม) ใช้สำหรับเติมหน้าคำนาม และเมื่อเติม tri เข้าข้างหน้าแล้ว ทำให้คำนั้นมีความหมายว่า “สาม” ขึ้นมาทันที
เช่น คำเดิม คำแปล เติมอุปสรรค tri แล้ว คำแปล angle เหลี่ยม triangle  รูปสามเหลี่ยมcycle จักรยาน tricycle รถสามล้อ

            9. –Bi (สอง) ใช้สำหรับเติมหน้าคำนาม และเมื่อเติม bi เข้าข้างหน้าแล้วทำให้คำนั้นมีความหมาย“สอง”ขึ้นมาทันที
เช่น cycle จักรยาน bicycle จักรยานสองล้อ polar ขั้วโลก bipolar มีสองขั้วโลก

            10. –En อุปสรรคตัวนี้ไม่มีคำแปลเป็นเอกเทศ เพียงแต่ว่าเมื่อนำไปเติมข้างหน้าคำนาม หรือคำคุณศัพท์แล้วทำให้คำนั้นกลับเป็นกริยา (verb) ขึ้นมาทันที
เช่น camp ค่ายพัก encamp ตั้งค่าย sure แน่ใจ ensure รับประกัน


Suffix 
        Suffix  (ปัจจัย) คือคำที่เติมท้ายคำอื่น แล้วให้คำนั้นเปลี่ยนชนิดของคำไป (เช่น อาจเปลี่ยนจากคำนามเป็นคำคุณศัพท์ เป็นต้น) แต่ความหมายของคำนั้นยังเหมือนเดิม เช่น employ (ว่าจ้าง) เป็น verb (คำกริยา) หากเราเติม Suffix "-er" เป็น employer (นายจ้าง ความหมายยังคล้ายของเดิม แต่ขอให้สังเกตว่าจะเปลี่ยนหน้าที่เป็น noun (คำนาม) เพื่อความสะดวกในการจำ เลยได้รวบรวมเป็นกลุ่มๆไว้ดังนี้

1. Noun Suffix  คือ คำนามที่ถูกสร้างขึ้นมา ซึ่งแบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ
      - คำนามที่แสดงตัวผู้กระทำ (denoting an agent) ซึ่งถูกสร้างมาจาก Suffix ดังต่อไปนี้
-ant / -ent / - ar / -er / -ard /-eer / -ess / - ier / -yer / -ian / -ist / -or / -ster / -monger  ใช้เติมหลังคำกริยาหรือคำนาม , adj เพื่อให้เป็น นามผู้กระทำการเท่านั้น
      - คำนามที่แสดงตัวผู้รับการกระทำ (denoting the receiver of an action) -ee / -ite / -ive

2.Verb Suffix คือ คำกริยาที่สร้างมาจาก Suffix อันได้แก่ -ate / -en / -fy / -ise / -ize

3. Adjective Suffix  คือ คำคุณศพท์ที่เกิดจากการเติม Suffix ต่อไปนี้โดยจะแยกเป็นกลุ่ม ๆ คือ
       3.1  -able / -ble / -ile = สามารถ
       3.2  -ac / -al / -an / -ary / -ic / -ical = เกี่ยวกับ
       3.3  -acious / -ant / -ent / -ative = มีแนวโน้มที่จะ
       3.4  -ful / -os / -ous / -olent = เต็มไปด้วย

4.Suffix กลุ่มอื่นๆที่น่าสนใจ
       4.1 "เหมือน ราวกับ"  -ile / -ish / -like / -y
       4.2 "บอกถึงสถานที่"   -ary / -ery / -ory / -orium / -arium
       4.3  "เล็กน้อย น้อย"  -cule / -cle / -ette / -let / -less / -ling




ขอขอบคุณ
http://worldsen.dyndns.org:8000/ple/webboard/index.php?topic=25.0